Atthanij Pokkasap
อันนี้ล่ะ...
โบราณท่านเรียก ๑ แรงช้างสาร
แต่ในพระพุทธประวัติ...พระเจ้าศรีสุทโธทนะพุทธบิดา
สำเร็จวิชานักรบมีกำลัง ๑๐ ช้างสาร
นางวิสาขา..ต้นบัญญัติ "เบญจกัลยาณี"
มีกำลัง ๕ ช้างสาร จึงสามารถทรงเครื่องประดับ
"มหาลดาปสาธน์" ที่ประกอบจากทองคำและอัฯมณีน้ำหนักรวมกว่า..๒๐๐ กิโลกรัม
ได้
ถ้าเอาปาฏิหาริย์ หรือ ศักยภาพสูงสุดของมนุษย์
ออกจากคำสอนในพระพุทธศาสนาแล้ว...
พระพุทธศาสนาก็ไม่เหลืออะไรเลย
ไอ้บ้าที่ไหน ก็เห่าว่าตัวมันเองรู้ธรรมกันทั้งนั้น
Panu Wongpanuvut เครื่องทรงพร้อมเลย
พลขับยังนั่งคาคออยู่นะนั่น
Tan Thaimassage ส่วนใหญ่ชอบคิดว่าเครื่องมหาลดาฯ
เบา อย่างที่สำนักจานบินทำปลอมๆ แล้วให้ดาราหน้าโง่ใส่กัน อีคนใส่เลยนึกว่ากูได้เทียบขั้นพระนางสุชาดาแล้ว
สักแต่อ่านผ่านๆ คนสมัยนี้
Panu Wongpanuvut ไม่ชาติหน้าก็ชาตินี้
คอมันคงได้เสมอไหล่
ส่วนสูงช้าง ๑๐
ตระกูล คำนวนจากฉัททันต์หากาฬวกแล้วไล่ตามตระกูล
กาฬวก ๘ ศอก
คังไคย ๑๖ ศอก
ปัณฑระ ๒๔ ศอก
ตัมพะ ๓๒ ศอก
ปิงคละ ๔๐ ศอก
คันธะ ๔๘ ศอก
มังคละ ๕๖ ศอก
เหมะ ๖๔ ศอก
อุโปสถะ ๗๒ ศอก
ฉัททันต์ ๘๐ ศอก
จากข้อมูลที่ได้มาขณะนี้
ชัดเจนแล้วว่า พระโพธิสัตว์เคยเสวยชาติเป็นช้าง ๒ ตระกูล
ในหิมพานต์ คือ
ตระกูล ฉัททันต์ - ช้างเผือกที่มีงาสีทอง
๖ งา
ตระกูล มังคล -
ช้างสีดอกอัญชัน(ช้างนาฬาคีรีก็อยู่ในตระกูลมังคลนี้ด้วยเช่นกัน)
แน่นอนว่า ทั้ง ๒
ตระกูลนี้ ตัวใหญ่มาก หากพบเพิ่มเติม จะรวบรวมมาอีก
Chanasorn
Suadprakorn ก้านกล้วย สีอัญชัน
Panu Wongpanuvut กระทืบปูทองได้มั้ยล่ะ?
ตัวใหญ่มาก ย้ำ ตัวใหญ่มาก
สำนวนว่า
กายดุงภูเขาอัญชัน
ส่วนล่างของฟอร์ม
Panu Wongpanuvut จีน เห็นช้าง ๖ งาเป็นสัตว์มงคล
นิยมแกะสลักหยกเป็นช้าง ๖ งา ประดับตามบ้านเพื่อเสริม
ฮวงจุ้ย ก็แน่นะ ก็ช้าง ๖ งาน่ะ คือ ช้างฉัททันต์นี่ มีแค่บางประเทศเท่านั้นละมั้งที่ตีความเอาเองว่าช้างฉัททันต์มีงา
๖ สี!
ส่วนบนของฟอร์ม
Atthanij Pokkasap
ถูกของชาตินั้นมันนะ...ไล่ตามความจังไรของมันได้เรย...
สีเหย/สีไห/สีหอก/สีหับ/สีหอย แล้วก็...สีคาหุก
Panu Wongpanuvut นอกคอกมันทุกเรื่อง
Khoseitpachara
Peekeisara เป็นพาหนะของพระโพธิสัตว์ด้วยหรือเปล่าครับ ทางจีน
Panu Wongpanuvut ใช่ครับ
จีนนำไปใช้แบบนั้นเลย
ส่วนล่างของฟอร์ม
No comments:
Post a Comment