2.Or breathing in short, he discerns that he is breathing in short; or breathing out short, he discerns that he is breathing out short.
3.He trains himself to breathe in sensitive to the entire body
4.and to breathe out sensitive to the entire body.
5.He trains himself to breathe in calming bodily fabrication (make your inhale softer)
6.and to breathe out calming bodily fabrication (make your exhale softer).
2.externally on the body in & of itself (others people’s body) , or
3.both internally & externally on the body in & of itself. (your own body and others’)
4.Or he remains focused on the phenomenon of origination with regard to the body,
5.on the phenomenon of passing away with regard to the body, or
6.on the phenomenon of origination & passing away with regard to the body. Or his mindfulness that ‘There is a body’ is maintained to the extent of knowledge & remembrance. And he remains unconstrained from desire and misunderstood. And he is disassociate to anything in the world. This is how a monk remains focused on the body in & of itself.
2.Or breathing in short, he discerns that he is breathing in short; or breathing out short, he discerns that he is breathing out short.
3.He trains himself to breathe in sensitive to the entire body
4.and to breathe out sensitive to the entire body.
5.He trains himself to breathe in calming bodily fabrication (make your inhale softer)
6.and to breathe out calming bodily fabrication (make your exhale softer).
reference : http://www.oknation.net/blog/buddhaquote/2009/07/03/entry-4
Posted by พระเสขะ
2.เมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น เมื่อหายใจเข้าสั้นก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้น
3.ย่อมสำเนียกว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอกกองลมทั้งปวง หายใจออก (คือลมทั้งหมด)
4.ย่อมสำเนียกว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมทั้งปวง หายใจเข้า (คือลมทั้งหมด)
5.ย่อมสำเนียกว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก (ทำลมหายใจออกให้เบาลง)
6.ย่อมสำเนียกว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า (ทำลมหายใจเข้าให้เบาลง)
2.พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง (คือกายของคนอื่น)
3.พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง (คือทั้งกายของเราเอง และ ทั้งกายของคนอื่น)
4.พิจารณาเป็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง (คือพิจารณาเห็นว่าทุกส่วนในกาย (ผม ขน เล็บ เป็นตัน) มีการเกิด/งอก)
5.พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง (คือพิจารณาเห็นว่ากายนี้ ก็เสื่อมไป แก่ไป)
6.พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง เธอย่อมเป็นอยู่อึกอย่างหนึ่ง คือเข้าไปตั้งสติว่ากายมี ก็เพียงสักว่าเอาไว้รู้ เพียงสักว่าเอาไว้อาศัยระลึกเท่านั้น
เธอเป็นผู้ไม่ถุกตัณหาและทิฐิเข้าอิงอาศัย และไม่ถือมั้นอะไร ๆ ในโลก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ด้วยการปฏิบัติอย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจาณาเห็นกายในกายอยู่เสมอ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ด้วยการปฏิบัติอย่างไรภิกษุจึงจะเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เสมอ คือภิกษุในพระศาสนานี้ ไปสู่ป่า ไปสู่โคนไม้ หรือไปสู่เรือนว่าง นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า เธอมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า (ตั้งสติไว้ที่จมูก)
1.เมื่อหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว
2.เมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น เมื่อหายใจเข้าสั้นก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้น
3.ย่อมสำเนียกว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอกกองลมทั้งปวง หายใจออก
4.ย่อมสำเนียกว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมทั้งปวง หายใจเข้า
5.ย่อมสำเนียกว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก (ทำลมหายใจออกให้เบาลง)
6.ย่อมสำเนียกว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า (ทำลมหายใจเข้าให้เบาลง
*******************************************************
ขึ้นกับ เทคนิค..อุปมา เชือกกลึง และการชักเชือกกลึงของนายช่างผู้ชำนาญ(ทักขภุมการ...อุปมานี้อยู่ในวรรคต้นๆของมหาสติปัฏฐานสูตร)
คือเท็คนิคการผลิตเชือกลึงคุณภาพ
และการสร้างความชำนาญ(ทักขะ, ทักษะ)ให้แก่ความเป็นนายช่างกลึง
๑. การหายใจยาว การหายใจสั้น เมื่อกำหนดขึ้นมาเอง โดยปราศจากการเรียนรู้ระบบการหายใจในสรีระตามธรรมชาติที่เป็นจริงของตนเอง
การกำหนดนั้น....ย่อมเป็น อุปาทาน คือคิดเอาเอง สติจากลมหายใจย่อมเป็นจริงได้ยาก
๒. การทำบทศึกษา เข้าถึง "หมู่ทั้งปวง(สัพพกาย)" ในขั้นที่ ๓ ของอานาปานสติสูตร ย่อมเป็นไปไม่ได้ เพราะ "หมู่" หรือ "กาย"....ที่เป็นลมทั้งหมดในร่างกาย หรือ ธาตุลมภายใน(อันโตวาโยธาตุ)
๓. การทำบทศึกษาเข้าถึง "กายสังขารสงบรำงับ"...คือการหยุดหายใจออกหยุดหายใจเข้า
ฯลฯ
ซึ่ง นอกจาก...สร้างผิวพรรณที่สะอาดเนียนละเอียดแน่น
กักลมอัสมิตา...ยังให้พลวัตแก่กล้ามเนื้อ และเอ็นทรงประสิทธิภาพ
ประหนึ่งว่าทรงคุณในวิชาคงกะพันชาตรี ชั้นสูงเพื่อเป็นฐานรองรับ "สุญญตสมาธิ"
แห่ง อานาปานสติกรรมฐาน ตามคติดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง อีกด้วย
สมาธิใน "สจิตปริโยทปนํ" อันเป็นคำสอนในพระพุทธศาสนา เป็นของสูง
ไม่ใช่เรื่องที่ปัญญาปุถุชนทั่วไปจะมาสัมผัสเอาได้อย่างมักง่าย แล้วเราจะได้...รู้กัน !!!
No comments:
Post a Comment