77.พระพุทธเจ้า - พระธรรม - พระสงฆ์ - วิทยาศาสตร์ - นิยาย - มวยไทย - ประวัติศาสตร์ - โหราศาสตร์ -ไสยศาสตร์ - ศาสนา - ภาษา - คณิตศาสตร์ - จิต - จักรวาล - สมาธิ - โยคะ - ดนตรี - ศิลปะ - เกษตรกรรม - สมุนไพร - อาหาร = สุขภาพและชีวิตที่ดีงาม
มาเรียนรู้ "พระกรรมฐาน"จากพระไตรปิฎก
กันครับ.
"วิญญาณ"บ้าง เป็นการเรียกตามลักษณะงาน
จิต..คือ แผ่กระจาย ระบายออกไป
มโน..คือ คิดเองได้
วิญญาณ.. คือ รู้ยิ่งเอง
(ญาณ=รู้เอง วิ=ยิ่ง ; วิ + ญาณ = วิญญาณ)
๑. จิต ที่เกิดจาก กายสังเคราะห์
หมายถึง จิตที่เกิดจากระบบอายตนประสาท คือ อินทรีย์ ๕
(ตา-จักขุนทรีย์ หู-โสตินทรีย์ จมูก-ฆานินทรีย์ ลิ้น-ชิวหินทรีย์ และกาย-กายินทรีย์)
มี ใจ(มนินทรีย์) เป็นที่ ๖
โสตวิญญาณ(รู้ยิ่งเองจากประสาทหู)
ฆานวิญญาณ(รู้ยิ่งเองทางประสาทหู)
ชิวหาวิญญาณ(รู้ยิ่งเองทางประสาทรับรสของลิ้น)
กายวิญญาณ(รู้ยิ่งเองจากประสาทสัมผัสของผิวกาย)
เป็นจิตที่เกิดจากการกระทบกันระหว่างอายตนประสาทกับสิ่งเร้า(Stimulus)
คือ ตากับรูป หูกับเสียง จมูกกับกลิ่น ลิ้นกับรส กายกับกายสัมผัส(โผฏฐัพพะ)
หมายถึง จิตที่อาศัยหัวใจทำงานร่วมกับอวัยวะภายในต่างๆ
ที่พระกรรมฐานพุทธเรียกว่า "อาการ ๓๒(ทวัตติงสาการ)"
สังเคราะห์สร้างและซ่อมแซมส่วนที่ยังเจริญไม่เต็ม
และส่วนที่ขาดหายไป
พระพุทธศาสนาเรียก จิต ภาคส่วนนี้ว่า
"มโนธาตุ" และ/หรือ "มโนวิญญาณธาตุ"
ตามรู้ได้ด้วยการฝึกหายใจออก หายใจเข้า
ซึ่งมีสมุฏฐาน มาจาก จิตภาคส่วนนี้โดยตรง
(รายละอียดเท็คนิคอยู่ในบทฝึก "กักลมอัสมิตา"ที่เป็นพื้นฐานของ อานาปานสติสมาธิสูตร)
เรียกว่า "ความพอใจ(ฉันทะ)"
เกิดจากการเข้าร่วมกันทำงานของสมองส่วนล่างกับหัวใจ ที่เรียกว่า ...
"รู้ยิ่งเองทางใจ(มโนวิญญาณ)"
จิตที่เกิดจากกายสังเคราะห์ มีสำนวนแปลทางพระบาลี
(ภาษาที่รักษาคำสอนของพระพุทธเจ้า...เป็นภาษาชาวแคว้นอวันตี
ออกแบบหลักไวยากรณ์โดยท่านพระมหากัจจายนะ
แล้ว นักการศึกษาส่วนใหญ่เอาไปมั่ว ว่าเป็นภาษาม คธ)....ว่า...
และ เรียกจิตที่สังเคราะห์กายว่า...
"วิญญาณ" เป็นปัจจัยให้เกิด "นามรูป"
แห่งการค้นพบของพระพุทธเจ้า
คือ นักปราชญ์ไทยทั้งหมด
จัดเอา "วิญญาณ" ไปอยู่ในกลุ่ม "นาม"ของ "นามรูป"
และเชื่อตามฝรั่งที่ฝรั่งเชื่อตามตรรกะของโสเครติส
ว่า จิตเกิดจากกาย โดยส่วนเดียว
จึงออกทะเล ไปมหาสมุทรอินเดียไปไกลลิบๆ
ด้วยประการฉะนี้แล ฯ
No comments:
Post a Comment