Buddha-sci-fi-muayThai-history-astrology-superstition-language-yoga-music-art-agricuture-herb-food

...I believe that meditation and healthy food are an essential human experience and should be freedom to learn too................................ Buddha-Dharma-Sangha-science-fiction-MuayThai-History-Astrology-Superstition-religion-Language-math-mind-universe-meditation-Yoga-Music-Art-Agricuture-Herb-Food...this is good health and life. All give us be Oneness. I will try to understand you and everybody around the world................ WE ALL ARE FRIENDSHIP......Truth me

Sunday, April 1, 2018

ตรรกะคณิตศาสตร์ ตอนที่ ๑



Atthanij Pokkasap  :



ปาฏิหาริย์ในพระพุทธศาสนา
โดย ตรรกะคณิตศาสตร์ ตอนที่ ๑


ปรัชญาคณิตศาสตร์ โดยนักคณิตศาสตร์ในคริสตศตวรรษที่ 20
ได้อธิบายความหมายของ "เหตุผล ที่ถูกต้อง" ไว้ว่า...
เหตุผลที่ถูกต้อง คือ ตรรกะที่มาจากภาพในใจ(Thoughtographic)ที่เกิดจากประสบการณ์
ในชีวิตจริง

อธิบายเปรียบเทียบ;
ประสบการณ์ในชีวิตจริงนี้  
ตรงกับที่พระพุทธศาสนาเรียกว่า "สุตมยปัญญา" ปัญญาขั้นที่ ๒ ในปัญญา ๓ ขั้น
แต่.. ภาพในใจ(Thoughtographic)ที่นักคณิตศาสตร์กล่าวถึงนี้  
ตรงกับปัญญาขั้นที่ ๑ จินตามยปัญญา..
สุตมยปัญญาที่ย้อนกลับไปพัฒนาจินตามยปัญญาได้ก็ด้วย..ประสบการณ์ในชีวิตจริง ณ ที่ใดที่หนึ่ง(กลับไปพิเคราะห์..วาทะของ.วิลเลียม เจมส์..สิ่งทีมีอยู่จริงย่อมถูกประสบได้ และที่ประสบแล้วย่อมมีอยู่จริง)
หมายถึง..ในการปฏิบัติธรรมนั้น จะมากำหนดจิตให้รู้ก่อน..ไม่ได้..ครับ !!!




Atthanij Pokkasap   หากไม่เข้าใจปรากฎการณ์ของภาพในใจตามระบบปรัชญาคณิตศาสตร์เหตุผลมันจะมั่วๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ...เพราะไม่มีเหตผลจริง...ผล.มะเร็งแดกสมอง ไม่ก็..เส้นเลือดสมองแตก เส้นเลือดสมองอุตตัน นี้เป็นผลกรรมของพวกเหตผลไม่เป็นไปตามความจริง    ภาพในใจตามปรัชญาคณิตศาสตร์นี้ คือ จินตามยปัญญา...ภาพจากปัญญาของจิตระดับสัญชาตญาน คือ
จิตบริสุทธิ์พื้นๆที่ยังไม่ใช่ระดับสมาธิตามความหมายของพระพุทธศาสนา...
พวกชอบอ้างเหตุผลแต่มั่ว...จับต้นชนปลายไม่ได้เพราะมันไม่มีภาพในใจ...และที่มันไม่มีภาพในใจเพราะ..มันไม่มีประสบการณ์ในการทำตามเหตุผลที่มันอ้าง...เห็นทั้งแผ่นดินครับ...

ภาพในใจเป็นพื้นฐานของการฝึกฝนสมาธิชั้นสูง(ภาวนามยปัญญา)...หลักสูตรกรรมฐานของพระมันมั่วมาเป็นร้อยๆปีแล้ว...


อำนาจคิดหาเหตุผลในเชิงคณิตศาสตร์ เป็นอำนาจจิตระดับหนึ่ง




No comments: